ระบบปฎบัติการชนิดต่างๆ ถูกออกแบบและสร้างขึ้นบนพื้นฐานของความต้องการที่แตกต่างกัน อันได้แก่
1.อินเตอร์เฟซของระบบปฎิบัติ
2.ประเภทของระบบปฎิบัติการ
3.ชนิดของซีพียูที่สนับสนุน
อินเตอร์เฟซของระบบปฎิบัติการ
อินเตอร์เฟซของระบบปฎิบัติการ สามารถถูกออกแบบให้อยู่ในรูปแบบของการตอบโต้ด้วยคำสั่ง หรือการฟิกได้ โดยที่
อินเตอร์เฟซแบบคำสั่ง (Command Line)
เป็นอินเตอร์เฟซที่ผู้ใช้ต้องมีความรู้ในการโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ผ่านคำสั่งต่างๆ ดังนั้น ผู้ใช้งานจึงต้องรู้ว่า ต้องป้อนคำสั่งอะไรลงไปเพื่อโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์หรือสั่งงานให้เครื่องทำ ตัวอย่างเช่น ในระบบปฎิบัติการ DOS หากต้องการสร้างไดเรกทอรี (โฟลเดอร์) จะต้องใช้คำสั่ง md หรือหากต้องการคัดลอกไฟล์ก็จะต้องใช้คำสั่ง copy ซึ่งนอกจากต้องรู้คำสั่งแล้ว ยังต้องเขียนรูปแบบคำสั่งให้ถูกต้องด้วย
อินเตอร์เฟซแบบกราฟิก (Graphics)
เป็นอินเตอร์เฟซที่ผู้ใช้ต้องมีความรู้ในการโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ผ่านคำสั่งต่างๆ ดังนั้นผู้ใช้งานจึงต้องรู้ว่า ต้องป้อนคำสั่งอะไรลงไปเพื่อโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์หรือสั่งงานให้เครื่องโต้ตอบกันสะดวกยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น MS-Windows และ MAC-OS ในขณะที่ระบบปฎิบัติการ Unix และ Linux ก็จะมีเวอร์ชั่นทั้งแบบ Command Line และ GUI ทั้งนี้ อินเตอร์เฟซ GUI สามารถคนคุ้นเคยกันดีไม่ว่าจะเป็นการสร้างโดยเฉพราะ Windows Explorer (ในระบบปฎิบัติการวินโดวส์) ที่หลายคนคุ้นเคยกันดีไม่ว่าจะเป็นการสร้างโฟลเดอร์ หรือลบไฟล์ต่างๆ
ประเภทของระบบปฎิบัติการ
ระบบปฎิบัติการ ยังถูกจัดแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
ระบบปฎิบัติการส่วนบุคคล (Personal Operating Systems)
เป็นระบบปฎิบัติการที่นำมาใช้งานส่วนบุคคลเป็นหลัก ในบักษณะของผู้ใช้คนเดียว (Stand-Alone) ตัวอย่างเช่น ระบบปฎิบัติการ Windows แต่อย่างไรก็ตาม ระบบปฎิบัติการจากค่ายไมโครซอฟต์ ไม่ว่าจะเป็น Windows XP, Windows 7 และ Windows 8 ก็ตาม นอกจากนำมาใช้งานส่วนบุคคลได้แล้ว ยังสามารถตั้งค่าเพื่อสร้างเป็รเครือข่ายเล็ก เชื่อมต่อกัน รวมถึงการเชื่อต่อเข้ากับระบบเครือข่ายระดับองค์กร และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
ระบบปฎิบัติการเครือข่าย (Network Operating Systems)
เป็นระบบปฎิบัติการที่สร้างขึ้นเพื่อใช้งานบนระบบเครือข่ายเป็นหลัก สามารถรองรับการเชื่อมลูกข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยมีศูนย์บริการที่เรียกว่าเชิร์ฟเวอร์ที่ใช้เป็นเครื่องแม่ข่ายหรือที่มักเรียกว่าโฮสต์ ตัวอย่างระบบปฎิบัติการเครื่อข่าย เช่น Windows Server , Novell NetWare และ Unix เป็นต้น
ชนิดของซีพียูที่สนับสนุน
https://www.blogger.com/blogger.g?blogID=6275893294882508953#editor/target=post;postID=2858327808477674679
โดยทั่วไปแล้ว ระบบปฎิบัติการมักถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้งานบนซีพียูประเภทใดมนประเภทหนึ่งโดยเฉพราะ เช่น ใช้งานกับซีพียูของเครื่องพีซีทั่วไป เครื่องเชิร์ฟเวอร์ หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่นอกจากนี้ ยังมีระบบปฎิบัติการ Windows 7 ก็จะมีทั้งแบบ 32 หรือ 64 บิต ให้เลือกใช้งาน นอกจากนี้สถาปัตยกรรมของซีพียูที่ใช้งานบนเครื่องพีซีทั่วไป ก็ยังมีทั้งซีพียูแบบ CISC และ RISC โดยที่
ซีพียู CISC (Complex Instruction Set Computing)
https://www.google.co.th/search?q=ADM&biw=1440&bih=794&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjS58vmoe7QAhXHgbwKHUN0CaYQ_AUIBigB#tbm=isch&q=%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B9+CISC&imgrc=gokJNAzfGs6crM%3A
สถาปัตยกรรมซีพียูชนิดนี้ ภายในซีพียูจะประกอบไปด้วยคำสั่งภายในจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นชุดคำสั่งพื้นฐานและชุดคำสั่งที่มีความซับซ้อน โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานบนซีพียูชนิดนี้ จะใช้ประโยชน์จากคำสั่งมี่บรรจุอยู่ภายในซีพียูได้ทันที จึงทำให้ตัวโปรแกรมเขียนได้ง่ายและสั่นลง อย่างไรก็ตาม ด้วยชุกคำสั่งที่บรรจุอยู่ภายในซีพียูได้ทันที จึงทำให้ตัวโปรแกรมเขียน 200 - 300 ชุดคำสั่ง ย่อมส่งผลให้ซีพียูมีขนาดใหญ่ขึ้น ใช้พลังงานมากขึ้น จึทำให้เกิดความร้อนสะสมสูง อีกทั้งชุดคำสั่งต่างๆ เหล่านี้ ก็ใช่ว่าจะถูกเรียกใช้งานเป็นประจำจากตัวโปรแกรมเนื่องจากโปรแกรมโดยส่วนใหญ่มักเรียกใช้งานเพียงบางชุดคำสั่งเท่านั้น
https://www.google.co.th/search?q=ADM&biw=1440&bih=794&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjS58vmoe7QAhXHgbwKHUN0CaYQ_AUIBigB#tbm=isch&q=ADM+Intel&imgrc=etrV5t7GQo4ydM%3A
ซีพียู RISC (Reduced Instruction Set Computing)
เป็นสถาปัตยกรรมซีพียูที่มีแนวคิดตรงกันข้ามกับ CISC โดยสิ้นเชิงกล่าวคือ ภายในซีพียู RISC จะมีชุดคำสั่งที่ส่วนใหญ่ล้วนจำเป็นต่อการถูกเรียกใช้งานจากโปรแกรมอยู่บ่อยๆ นั่นเองส่วนคำสั่งที่ซับซ้อนก็จะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของระบบปฎิบัติการในการประมวลผลคำสั่งของซีพียู RISC ใช้เวลาน้อยกว่า CISC และด้วยภายในซีพียู RISC ที่มีการบนนจุเฉพาะชุดคำสั่งพื่นฐานเท่านั้น ตัวอย่างซีพียูที่ใช้สถาปัตยกรรม RISC พลังงานน้อยกว่า ตัวอย่างซีพียูที่ใช่สถาปัตยกรรม เช่น ชิปตระกูล Power PC, Silicon Graphics และ DEC Alpha เป็นต้น
ระบบปฎิบัติการบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและเชิร์ฟเวอร์
ในหัวข้อนี้ จะขอกล่าวถึงระบบปฎิบัติการที่นิยมใช้งานคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อันได้แก่ ระบบปฎิบัติการ DOS, Windows, Windows Server, Mac-OS, Unix และ Linux
ดอส (Disk Operating System : DOS)
ระบบปฎิบัติการ DOS จัดเป็นระบบปฎิบัติการที่ได้รับความนิยมสูงมากในช่วงปี พ.ศ.2523 ถึง พ.ศ.2533 ถูกออกแบบใช้งานบนเครื่องพีซีในยุคเริ่มต้น เป็นระบบปฎิบัติการที่ประมวลผลแบบงานเดียว (Single Tasking) โดยมีอินเตอร์เฟซเป็นแบบคำสั่งหรือที่เรียกว่า Command Prompt อย่างไรก็ตาม ในระบบปฎิบัติการ Windows ก็ยังผนวกการโต้ตอบแบบคำสั่งเอาไว้สำหรับผู้ที่ยังคงชื่นชอบรูปแบบการโต้ตอบชนิดนี้
วินโดวส์ (Windows)
บริษัทไมโครซอฟต์ได้สร้างระบบปฎิบัติการวินโดวตัวแรกคือ Windows 1.0 เมื่อปี พ.ศ.2528เพื่อทดแทนระบบปฎิบัติการ Windows 3.11 ซึ่งถือเป็นเวอร์ชั่นที่ได้รับการยอมรับและประสบความสำเร็จจากผู้ใช้เป็นจำนวนมากที่มีอยู่ทั่วโลก แต่ยังคงมีข้อจำกัดคือ ยังต้องพึ่งพาระบบปฎิบัติการ DOS อยู่ถัดจากนั้นมาจนกระทั่งปี พ.ศ.2538-2543ก็ได้เปิดตัวระบบปฎิบัติการเวอร์ชั่นใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น Windows 95, Windows 98, Windows Me และ Windows 2000 ตามลำดับ และไม่ต้องพึ่งพาระบบปฎิบัติการ DOS อีกต่อไป อีกทั้งยังพัฒนาระบบไฟล์จากเดิมที่เคยใช้คือ FAT-16 บิต มาเป็น FAT-32 บิต และ NTFS ตามลำดับ
https://www.google.co.th/search?q=ADM&biw=1440&bih=794&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjS58vmoe7QAhXHgbwKHUN0CaYQ_AUIBigB#tbm=isch&q=Windows+1.0&imgrc=d--9no9e-Em8ZM%3A
https://www.google.co.th/search?q=ADM&biw=1440&bih=794&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjS58vmoe7QAhXHgbwKHUN0CaYQ_AUIBigB#tbm=isch&q=Windows+XP&imgrc=95IqG0tydr_hRM%3A
Windows Vista
ในช่วงปี พ.ศ.2550 ไมโครซอฟต์ได้เปิดตัวระบบปฎิบัติการ Windows Vista เพื่อทดแทน Windows XP ที่มีการใช้งานมายาวนาน โดยมีจุดเด่นตรงที่ เป็นระบบปฎิบัติการที่สนับสนุนระบบ 64 บิตพร้อมกับปรับปรุงประสิทธิภาพในส่วนต่างๆ เพิ่มขึ้นอีกหลายอย่าง แต่ระบบปฎิบัติการ Windows Vista มีกระแสการตอบรับไม่ดีเลย ถือว่าล้มเหลวโดนชิ้นเชิง โดยเฉพาะในเรื่องของการใช้ทรัพยากรระบบสูงและทำงานค่อนข้างช้า ทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ยังคงใช้งาน Windows XP อยู่
https://www.google.co.th/search?q=ADM&biw=1440&bih=794&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjS58vmoe7QAhXHgbwKHUN0CaYQ_AUIBigB#tbm=isch&q=Windows+XP&imgrc=95IqG0tydr_hRM%3A
Windows 7
Windows 7 เป็นระบบปฎิบัติการ(Operating System)ของทาง Microsoft ที่ได้ทำการพัฒนาต่อเนื่องมากจาก Windows 98 , Me , 2000 , XP ,Vista จนมาถึงปัจจุบัน คือ Windows 7 นั้นเอง โดยกลุ่มเป้าหมายของ Windows 7 นี้ก็คือบุคคลทั่วไป ตามองค์กร ตามบ้าน ที่ใช้คอมพิวเตอร์ โดย Windows 7 จะเป็นระบบปฎิบัติการที่เอามาลงบน Hardware อีกทีึครับ โดย Windows 7 ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 22 ก.ค 2009 ครับโดยทาง Microsoft ได้ใช้ภาษา C , C++ ในการพัฒนา
Windows 7 นั้นได้ออกมาหลาย Edition เหลือเกิน ไม่ว่าจะเป็นตัว Windows 7 Starter, Window 7 Home Basic,Windows Home Premium,WIndow 7 Professional,Windows 7 Enterprise,Windows 7 Ultimate โดยของแตกต่างระหว่าง Editions ของ Windows 7 นั้นก็คือ การเพิ่ม Functions และลูกเล่นในการทำงานครับ ซึ่งถ้าเราจ่ายเงินเพิ่มมากยิ่งขึ้นเราก็จะได้ฟังก์ชั่นในการทำงานหรือลูกเล่นเพิ่มขึ้นนั้นเองครับ
Windows 7 นั้นได้ออกมาหลาย Edition เหลือเกิน ไม่ว่าจะเป็นตัว Windows 7 Starter, Window 7 Home Basic,Windows Home Premium,WIndow 7 Professional,Windows 7 Enterprise,Windows 7 Ultimate โดยของแตกต่างระหว่าง Editions ของ Windows 7 นั้นก็คือ การเพิ่ม Functions และลูกเล่นในการทำงานครับ ซึ่งถ้าเราจ่ายเงินเพิ่มมากยิ่งขึ้นเราก็จะได้ฟังก์ชั่นในการทำงานหรือลูกเล่นเพิ่มขึ้นนั้นเองครับ
https://www.google.co.th/search?q=windows+7+%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2&biw=1440&bih=745&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjGlc73wu7QAhULKY8KHcLoCP8Q_AUIBigB#imgrc=RDc3sAmbpk_dUM%3A
Windows 8
วินโดวส์ 8 (Windows 8) เป็นระบบปฏิบัติการของไมโครซอฟ เริ่มพัฒนาก่อน Windows 7 ในปี 2009 ประกาศออกมาตั้งแต่ปี 2011 Windows 8 ปล่อยออกมา 3 เวอร์ชันอย่างเป็นทางการตั้งแต่เดือนกันยายนปี 2554 ถึงเดือนพฤษภาคม 2555 ส่งไปยังผู้ผลิตในวันที่ 1 สิงหาคม 2555 และเปิดให้ใช้งานโดยกลุ่มผู้ใช้ทั่วไปในวันที่ 26 ตุลาคม 2555
วินโดวส์ 8 ปรับเปลี่ยนโดยเน้นการใช้งานบนอุปกรณ์พกพาเช่น แท็บเล็ต เพื่อเป็นคู่แข่งกับระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพาอื่น ๆ เช่นไอโอเอสและแอนดรอย และได้ปรับปรุงส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน (UI) ทีมีชื่อว่ารูปแบบโมเดิร์นมีหน้าตาที่เรียบง่าย และสะดวกต่อการใช้งาน มีการอัปเดตแอปต่าง ๆ ตลอดเวลาด้วยระบบไลฟ์ไทล์และยังผนวกโปรแกรมป้องกันไวรัสเข้ามากับระบบปฏิบัติการโดยตรง ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องไปซื้อโปรแกรมป้องกันไวรัสเพิ่มเติม
https://www.google.co.th/search?q=windows+8+%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2&biw=1440&bih=745&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwi-p_LJw-7QAhWGvI8KHcCICfEQ_AUICCgB#imgrc=TywcAk8HbqpzgM%3A
Windows Server
เป็นระบบปฎิบัติการเครือข่าย (Network Operrating Systems : NOS) จากค่ายไมโครซอฟต์ทที่ถูกออกแบบให้ใช้งานบนเครื่องเชิร์ฟเวอร์โดนเฉพาะ มักใช้งานตามองค์กรทั่วไปตัวอย่างเช่น Windows Server 2003, Windows Server 2008 และ Windows Server 2012 (Windows Server 8) เป็นต้น สำหรับข้อเด่นของระบบปฎิบัติการเครือข่ายจากค่ายไมโครซอฟต์ก็คือ มีโปรแกรมสนับสนุนมากมาย อีกทั้งการเชื่อมโยงเครื่องลูกข่ายเข้ากับเครื่องเชิร์ฟเวอร์นั้นจะง่ายมากหากเครื่องลูกข่ายใช้ระบบปฎิบัติการจากค่ายไมโครซอฟต์เหมือนกัน
https://www.google.co.th/search?q=windows+8+%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2&biw=1440&bih=745&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwi-p_LJw-7QAhWGvI8KHcCICfEQ_AUICCgB#tbm=isch&q=windows+server&imgrc=t-ouhVx273srYM%3A
แมคโอเอส (Mac-OS)
ระบบปฎิบัติการ Mac เป็นผลิตภัณฑ์จากค่ายแอปเปิ้ลที่ออกแบบมาใช้งานบนเครื่องแมคโดยเฉพาะ เป็นระบบปฎิบัติการที่พัฒนาขึ้นจากพื้นฐานระบบปฎิบัติการยูนิกซ์
https://www.google.co.th/search?q=windows+8+%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2&biw=1440&bih=745&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwi-p_LJw-7QAhWGvI8KHcCICfEQ_AUICCgB#tbm=isch&q=++%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA+(Mac-OS)&imgrc=zvQoaMy6d8lc7M%3A
ยูนิกซ์ (Unix)
ระบบปฎิบัติการ Unix ได้รับการพัฒนาขึ้นครั้งแรกเมื่อประมาณปี พ.ศ.2503 ถูกออกแบบเพื่อใช้งานบนเครื่องเชิร์ฟเวอร์ระดับกลาง เป็นระบบปฎิบัติการที่มีรูปแบบการประมวลผลแบบมัลติยูสเซอร์และมัลติทาสกิ้ง นอกจากนี้ ระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ระดับไมโครคอมพิวเตอร์จนถึงเมนเฟรม สามารถรันอยู่ภายใต้ระบบปฎิบัติการการยูนิกซ์ได้ั้งสิ้น
https://www.google.co.th/search?q=windows+8+%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2&biw=1440&bih=745&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwi-p_LJw-7QAhWGvI8KHcCICfEQ_AUICCgB#tbm=isch&q=%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C+(unix)&imgrc=k8BmqX-qSojBSM%3A
ลินุกซ์ (Linux)
ลินุกซ์จัดเป็นระบบปฎิบัติการสายพันธุ์หนึ่งของ Unix และยังเป็นระบบเปิด ที่เปิดโอกาสให้รักพัฒนานำไปปรับปรุงเพื่อแบ่งปันใช้งานบนอินเทอร์เน็ต แม้ว่า Linux ฉบับดั้งเดิมนั้นจะมีอินเตอร์เฟซมาเป็นแบบ Command Line ก็ตาม แต่เวอร์ชั่นใหม่ๆ ในปัจจุบันได้มีการปรับเปลี่ยนอินเตอร์เฟซมาเป็นแบบ GUI และสามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรีผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสำหรับลินุกซ์ประเทศไทย ได้รับการพัฒนาขึ้นภายใต้หน่วยงาน NECTEC โดยใช้ชื่อว่า ลินุกซ์ทะเล (Linux Tle)
https://www.google.co.th/search?q=windows+8+%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2&biw=1440&bih=745&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwi-p_LJw-7QAhWGvI8KHcCICfEQ_AUICCgB#tbm=isch&q=%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C+(Linux)&imgrc=HaaMKClUxdV8DM%3A