สรุปท้ายบทที่ 1
ความพิวเตอร์ หมายถึง
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถประมวลผลข้อมูลได้โดยอัตโนมัติ
ประเภทของความพิวเตอร์
ที่จำแนกตามขีดความสามารถ ประกอบด้วย
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สรุปท้ายบทที่ 1
ความพิวเตอร์ หมายถึง
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถประมวลผลข้อมูลได้โดยอัตโนมัติ
ประเภทของความพิวเตอร์
ที่จำแนกตามขีดความสามารถ ประกอบด้วย
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
3.มินิคอมพิวเตอร์
4.เวิร์กสเตชั่น
5.ไมโครคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ประกอบด้วย
1.ฮาร์ดแวร์
2.ซอฟแวร์
3.ข้อมูล
4.กระบวนการทำงาน
5.บุคลากร
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
1.ความเร็ว
2.ความน่าเชื่อถือ
3.ความเที่ยงตรงและแม่นยำ
4.จัดเก็บข้อมูลได้ปริมาณมาก
5.ความสามารถในการสื่อสารและเครือข่าย
สื่อบันทึกข้อมูลแบบแม่เหล็ก ได้แก่ เทปแม่เหล็ก ดิสเกตต์ และฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
สื่อบันทึกข้อมูลแบบแสง ได้แก่
สื่อออปติคัลดิสก์ต่างๆ อันประกอบด้วย
· สื่อที่อ่านได้อย่างเดียว เช่น แผ่น CD-ROM,
DVD-ROM, BD-ROM
· สื่อที่อ่านและเขียนได้จนเต็มแผ่น เช่น แผ่น CD-R, DVD-R, BD-R และ
· สื่อที่อ่านและเขียนทับข้อมูลเดิมได้ เช่น แผ่น CD-RW, DVD-RW, BD-RE
สื่อบันทึกข้อมูลแบบแฟลช ได้แก่
แฟลชไดรฟ์ และการ์ดหน่อยความจำชนิดต่างๆ
อุปกรณ์ต่อพ่วง
หมายถึงอุปกรณ์ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์
ผ่านกานเชื่อมต่อเพื่อเพิ่มขยายขีดความสามารถให้กับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ประโยชน์ด้านใดด้านหนึ่ง
อุปกรณ์ต่อพ่วง
ยังแบ่งออกเป็น 3 ประเภทด้วยกันคือ
1.
อุปกรณ์ต่อพ่วงเพื่อการป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ ไมโครโฟน และสแกนเนอร์
2.
อุปกรณ์ต่อพ่วงเพื่อการแสดงผลข้อมูล
เช่น เครื่องขับออปติคัลดิสก์แบบภายนอก เครื่องอ่านการ์ดหน่วยความจำแบบภายนอก
และฮาร์ดดิสก์แบบเชื่อมต่อภายนอก
ระบบปฎิบัติการ คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยมีจุกประสงค์คือ จะกำหนดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมให้แก่ผู้ใช้
เพื่อนผู้ใช้สามารถปฎิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวกและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบปฎิบัติการยุคที่ 1 จัดอยู่ในยุคที่ไม่มีระบบปฎิบัติการไว้ใช้งาน
ผู้ควบคุมเครื่องจะต้องป้อนคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่องเข้าไปโดยตรง
ระบบปฎิบัติการรุ่นที่ 2 เป็นยุคที่เริ่มใช้ระบบปฎิบัติการประมวลผลแบบแบตช์
ระบบปฎิบัติการรุ่นที่ 3 เป็นยุคที่เริ่มนำระบบปฎิบัติการที่ประมวลผลแบบมัลติโปรแกรมมิ่ง
ไทม์แชริ่ง มัลติโปรเซสซิ่ง และระบบเรียลไทม์มาใช้
ระบบปฎิบัติการรุ่นที่ 4 เป็นยุคที่เริ่มมีระบบปฎิบัติการบนไมโครคอมพิวเตอร์
เพื่อรองรับงานประมวลผลแบบงานเดียว (MS-DOS) และมัลติทาสกิ้ง (Windows)
รวมถึงระบบปฎิบัติการที่ใช้งานบนระบบเครือข่าย
หน้าที่ของระบบปฎิบัติการ
ประกอบด้วย
1.การติดต่อกับผู้ใช้
2.การควบคุมดูแลอุปกรณ์
3.การจัดสรรทรัพยากร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น